tam-eig.com

เมื่อจีนเตือนสหรัฐฯ กำลังเล่นกับไฟ

อย่าลืม Subcribe จะได้ไม่พลาด

Facebook | Youtube | Line | Website

*สัมภาษณ์ ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2565

ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร ผู้อำนวยการศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ ได้พูดถึงภัยคุกคามของจีนที่ทางสหรัฐอเมริกามองว่า เป็นภัยคุกคามที่ใหญ่ที่สุดเอาไว้ว่า ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีนเป็นความขัดแย้งที่ตึงเครียดมาเป็นเวลานาน ก่อนหน้านี้โลกให้ความสนใจกับความขัดแย้งระหว่างประเทศรัสเซียกับประเทศยูเครนกันมาก  

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา ได้กล่าวสุนทรพจน์เรื่องการดำเนินโยบายระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีนไว้ว่า ถึงแม้สงครามยูเครนยังไม่จบ แต่ภัยคุกคามที่ใหญ่ที่สุดของประเทศสหรัฐอเมริกาก็คือ จีน กลับกัน หากหันมามองที่ฝั่งจีน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่จีนได้เรียนรู้จากสงครามรัสเซีย-ยูเครน ในครั้งนี้คือสงครามที่เกิดขึ้นยิ่งกว่าสงครามด้านการทหาร แต่คือสงครามด้านเศรษฐกิจ และ ถ้าเกิดความขัดแย้ง จีนกังวลว่าจะถูกคว่ำบาตรเหมือนรัสเซียหรือไม่ 

ดูเหมือนว่าสหรัฐอเมริกาได้กลับมาเล่นเกมรุกในภูมิภาคนี้อย่างชัดเจน การที่ โจ ไบเดน เริ่มเข้ามาสานสัมพันธ์กับประเทศแถบเอเชียมากขึ้น พร้อมกับเปิดตัวความร่วมมือระหว่างสหรัฐอเมริกากับอินโดแปซิฟิกในเรื่องของเศรษฐกิจ ทำให้บรรยากาศดูกลับมาคึกคักอีกครั้ง 

#ถามทันที | เมื่อจีนเตือนสหรัฐฯ กำลังเล่นกับไฟ⁣⁣

ถามอีก กับ ดร.อาร์ม ตั้งนิรันดร ผู้อำนวยการศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ⁣⁣

คุยอะไรกันบ้าง?

0:00 เริ่มกันเลย

0:42 ภัยคุกคามที่ใหญ่ที่สุดของสหรัฐฯคือจีน

6:41 สหรัฐฯกำลังใช้ไต้หวันเป็นหมาก?

8:54 สิ่งที่จีนได้เรียนรู้จากสงครามรัสเซีย-ยูเครน

13:14 มีโอกาสเกิดสงครามจีน ไต้หวัน?

16:15 จีนลดการถือครองพันธบัตรสหรัฐฯ สหรัฐฯจะลดกำแพงภาษี?

19:58 สุดท้ายอเมริกาจะคงอยู่ หรือจีนจะขึ้นมาเป็นเบอร์หนึ่ง?

29:51 อเมริกาพยายามเข้าหาอาเซียน

34:19 ศิลปะในการรักษาสมดุลเชิงรุกจะกลายเป็นเรื่องสำคัญ

38:31 จีนเข้าไปสร้าง Debt Trap หลายประเทศ

40:40 ไทยใช้จังหวะนี้ทำอะไรได้บ้าง?

45:00 ทิ้งท้าย

#TamEigPodcast ฟังแบบเนื้อ ๆ ไม่มีเม้นท์ ได้ที่ Podcast

ถามอีกกับอิก TE 533 | เมื่อจีนเตือนสหรัฐฯ กำลังเล่นกับไฟ

ถ้ามีประโยชน์และชื่นชอบ อย่าลืม subscribe และให้ดาวนะคร้าบ

คลิกเพื่อฟังทาง Apple podcast

คลิกเพื่อฟังทาง Soundcloud

คลิกเพื่อฟังทาง Spotify

คลิกเพื่อฟังทาง Google podcast

Exit mobile version